ประวัติตำบล

 

ข้อมูลพื้นฐาน ตำบลโพนางดำออก

สภาพทั่วไปของ กศน.ตำบล

          ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้งตำบลโพนางดำออกตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอ   สรรพยา  มีระยะห่างจากอำเภอสรรพยา  ประมาณ  กิโลเมตร  โดยมีพื้นที่ติดต่อกับตำบลอื่น ดังนี้

                    ทิศเหนือ          ติดต่อกับตำบลหาดอาษา   อำเภอสรรพยา    จังหวัดชัยนาท

                    ทิศใต้              ติดต่อกับตำบลชีน้ำร้าย     อำเภออินทร์บุรี    จังหวัดสิงห์บุรี

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับตำบลเขาแก้ว      อำเภอสรรพยา     จังหวัดชัยนาท

                   ทิศตะวันตก     ติดต่อกับแม่น้ำเจ้าพระยา  อำเภอสรรพยา     จังหวัดชัยนาท                  

          เนื้อที่ทั้งหมด     28.02   ตารางกิโลเมตร  หรือ  17,510  ไร่ เป็นที่ราบลุ่มอยู่ในเขตชลประทาน                      มีแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองมหาราชไหลผ่าน  พื้นที่เหมาะสำหรับทำการเกษตรกรรม  เช่น  ทำนา  ทำสวนผลไม้  ปลูกผัก   ประชาชนส่วนใหญ่ตั้งบ้านเรือนแม่น้ำเจ้าพระยาและมีบางส่วนที่ตั้งบ้านเรือนเรียงรายตามริมถนนสายเอเซีย ( ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 )

                    เขตการปกครอง

                             จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลโพนางดำออก  ทั้งหมด  8 หมู่บ้าน

                                หมู่ที่  1    บ้านท่าไทร                     

                                หมู่ที่  2    บ้านโพนางดำออก          

                                หมู่ที่  3    บ้านสวนมะม่วง             

                                หมู่ที่  4    บ้านท้องคุ้ง                    

                                หมู่ที่  5    บ้านงิ้ว                           

                                หมู่ที่  6    บ้านบางท่าช้าง       

                                หมู่ที่  7     บ้านบางยายลา   

                                                                     หมู่ที่  8     บ้านบ่อพัฒนา  

แผนที่ตำบลโพนางดำออก  อำเภอสรรพยา  จังหวัดชัยนาท

 


 2.2  ข้อมูลด้านประชากร

          จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นที่ตำบลโพนางดำออก

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร(คน)

จำนวนครัวเรือนในพื้นที่

ชาย

หญิง

รวม

เขต อบต.

เขตเทศบาล

1

บ้านท่าไทร

345

415

485

900

-

345

2

บ้านโพนางดำออก

206

246

274

520

-

206

3

บ้านสวนมะม่วง

263

379

384

763

-

263

4

บ้านท้องคุ้ง

357

481

516

997

-

357

5

บ้านงิ้ว

160

201

232

433

-

160

6

บ้านบางท่าช้าง

271

282

344

626

-

271

7

บ้านบางยายลา

140

208

213

421

-

140

8

บ้านบ่อพัฒนา

219

365

358

723

-

219

 

รวม

1,961

2,577

2,806

5,383

-

1,961

 

          ตำบลโพนางดำออก มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน  1,961  ครัวเรือน  อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาลตำบลทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น  5,383 คนแยกเป็นประชากรชาย  จำนวน  2,577 คนคิดเป็นร้อยละ  47.87และประชากรหญิง  จำนวน  2,806  คน  คิดเป็นร้อยละ  52.13  ความหนาแน่นเฉลี่ย  คน/ตารางกิโลเมตร

 จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ

ช่วงอายุ (ปี)

จำนวน (คน)

ร้อยละของประชากรทั้งหมด (คน)

0  -  5

280

5.23

6  -  14

446

8.34

15  -  39

1,689

31.56

40  -  59

1,698

31.72

60  -  69

641

11.97

70  -  79

383

7.15

80  -  89

194

3.62

90  ปีขึ้นไป

22

0.41

รวม

5,353

100.00

 

          จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ  พบว่า  ประชากรส่วนใหญ่มีช่วงอายุตั้งแต่ 40-59 คิดเป็นร้อยละ 31.72  รองลงมามีช่วงอายุตั้งแต่  15-39  คิดเป็นร้อยละ  31.56  และมีช่วงอายุที่มีประชากรน้อยที่สุดคืออายุตั้งแต่  80-90  ปีขึ้นไป  คิดเป็นร้อยละ  3.62 และ  0.41  ตามลำดับ

          จำนวนผู้พิการจำแนกตามประเภทความพิการ

ประเภทผู้พิการ

จำนวนผู้พิการ (คน)

คิดเป็นร้อยละ

ชาย

หญิง

รวม

-ทางสมอง

16

9

25

13.96

-ทางสายตา

6

16

22

12.30

-ทางร่ายกาย

56

73

129

72.06

-พิการซ้ำซ้อน

1

2

3

1.68

รวม

79

100

179

100.00

กลุ่มผู้พิการ  เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป  อันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางด้านร่างกาย  จิตใจ  สติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้  จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลศรีสุราษฎร์จำแนกประเภทความพิการ  ส่วนใหญ่มีความพิการ

2.3  ข้อมูลด้านสังคม

การศึกษา

1. โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดสมอ โรงเรียนวัดมะปราง

                             2.โรงเรียนมัธยมศึกษา ได้แก่ โรงเรียนชยานุกิจพิทยาคม

                             3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าไทร ศูนย์พัฒนา

เด็กเล็กบ้านสวนมะม่วง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านงิ้ว

                             4.ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 8 แห่ง 

          สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                             1.วัด 4 แห่ง ได้แก่ วัดไผ่ล้อม วัดสมอ วัดมะปราง วัดวังสาคร

                    การสาธารณสุข

                             1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2 แห่ง

                             2.ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน 8 แห่ง

                             3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 151 คน ดังนี้

                                       หมู่ที่  1                  23              คน

                                       หมู่ที่  2                  21             คน

                                       หมู่ที่  3                  21              คน

                                       หมู่ที่  4                  20              คน

                                       หมู่ที่  5                  19              คน

                                       หมู่ที่  6                  20              คน

                                       หมู่ที่  7                  10              คน

                                       หมู่ที่  8                  27              คน

การคมนาคม

                   ทางบก

- เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ( สายเอเซีย )ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กสายเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่หมู่ที่  1 – 7  ระยะทาง  กิโลเมตร

- ถนนลาดยาง ท่าไทร เขาแก้ว ระยะทาง 16 กิโลเมตร

- ถนนเลียบคันคลองมหาราชตั้งแต่หมู่ที่   1  -  7  ระยะทาง  5.5  กิโลเมตร 

                               ( ลาดยางและลูกรัง )

                             - ถนนสายสวนมะม่วง  หมู่ที่  3

                             - ถนนลูกรังสายบางตาเพ็ชร์  หมู่ที่  เชื่อมกับตำบลเขาแก้ว

                             - ถนนสายบ้านงิ้ว  -   นมโฑ

                             - ถนนลาดยาง  รพชหมู่ที่ 5 , 6  ( สายบ้านบางท่าช้าง บ้านงิ้ว )

                             - ถนนทางเข้าหมู่บ้าน หมู่ที่   8  บ้านบ่อพัฒนา

                             ทางน้ำ แม่น้ำเจ้าพระยา

                    การโทรคมนาคม

                             โทรศัพท์สาธารณะ 16 แห่ง

                    การไฟฟ้า

                             ทุกหมู่บ้านมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน 1,720 ครัวเรือน       

                    แหล่งน้ำธรรมชาติ

                             แม่น้ำเจ้าพระยา 1 สาย   หนองกระดี่ 1 แห่ง

                             หนองสาหร่าย 1 แห่ง     หนองเสือปลา 1 แห่ง

                   แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

                             - คลอง 1 ขวา ชัยนาท ป่าสัก 1 สาย

                             - คลองชลประทาน ( มหาราช ) 1 สาย

          ข้อมูลอื่น ๆ

                    มวลชนและกลุ่มต่าง ๆ

                             - ลูกเสือชาวบ้าน 478 คน

                             - อาสาสมัครพัฒนาชุมชน ( อช. ) 40 คน

                             - ผู้ประสานพลังแผ่นดินเพื่อเอาชนะยาเสพติดระดับหมู่บ้าน  200  คน

- กลุ่มอาชีพ  7  กลุ่ม 

- อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน  151 คน

- สมาชิก อปพร.  117  คน

- ชมรมผู้สูงอายุ 8 หมู่บ้าน

- ชมรม To Be Number One

 

2.4  ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

          อาชีพ อาชีพประชาชนเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย

                             1.ทำนา  ร้อยละ  90  ของราษฎรในหมู่บ้าน นอกจากนั้นทำสวนผักผลไม้

2.รับจ้างทั่วไปเกี่ยวกับเกษตรกรรม  รับจ้างหว่านข้าว  หว่านปุ๋ย  เกี่ยวข้าว พ่นสารเคมี  กำจัดศัตรูพืช รับเหมาก่อสร้างลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม

                             3.ค้าขาย

                             4.รับราชการ

                    หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล

                             1.โรงสี 2 แห่ง

                             2.อู่ซ่อมรถ 7 แห่ง

                             3.ร้านค้าทั่วไป 62 แห่ง

                             4.ตลาดนัด 5 แห่ง

                             5.ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง 13 แห่ง ( ปั๊มหลอด )

                             6.ลานชั่งผลผลิตทางการเกษตร 1 แห่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น